วันอังคารที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2559

เครื่องดักฟังส่วนบุคคล เป็นการละเมิดสิทธิส่วนตัวหรือไม่ หาคำตอบได้





 หลวงพ่อเทียนสอนว่า การเจริญสติแบบเคลื่อนไหวนั้นไม่เกี่ยวข้องกับการคักษาคัมภีร์หรือตำรา (การคักษาคัมภีร์พระไตรปิฎกได้รับการส่งเสริมโดยพระนักปฏิรูปอย่างเซ่น พุทธทาสภิกขุ และพระธรรมปิฎก) การเจริญสติแบบเคลื่อนไหวไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดลมหายใจ การเพ่งรูปนิมิตการภาวนาคำต่าง ๆ ในใจ หรือการพิจารณาตรึกตรองธรรมชาติของสิงต่าง ๆและไม่เน้นเรื่องของคัล การเจริญสติแบบเคลื่อนไหวตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายทีละจังหวะ เช่น การยกมือสร้างจังหวะหรือการเดินจงกรม เพื่อเป็นการปลุกสติหรือ “ธาตุรู้” ในตัวเองให้ตื่นขน สติหรือธาตุรู้จะเข้าไป “ดู” ความคิดซึ่งเป็นรากเหง้าของกิเลสทั้งปวงและตัดกระแสของความคิดนั้นๆหลวงพ่อเทียนและสานุคิษย์ที่สำคัญ เช่น อาจารย์คำเขียน สุวณฺโณและอาจารย์ดา สัมมาคโต เป็นพระภิกษุในฝ่ายมหานิกาย การเจริญสติแบบเคลื่อนไหวตามแนวทางของหลวงพ่อเทียนได้รับความสนใจทั้งจากชาวบ้านในชนบทที่ห่างไกล และจากซนชั้นกลางในกรุงเทพฯ เครื่องดักฟังเสียง และหัวเมืองใหญ่ เนื่องจากสำนักกรรมฐานสายนี้วิพากษ์วิจารณ์การตีความคำสอนพุทธศาสนาของชนชั้นปกครองและไสยศาสตร์ของไทย จึงอาจจัดได้ว่าเป็นพุทธศาสนาฝ่ายปฏิรูปของชนชั้นกลางในสังคมไทย3. สำนักแห่ง “ปัญญา” พุทธทาสภิกขุ และพระธรรมป็ฏกคำสอนอันเป็นตัวแทนของ “ปัญญา” ในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของไทยนั้น ที่เด่นและสำคัญได้แก่ คำสอนของพุทธทาสภิกขุ (เงื่อม อินฺทปญโญ)แห่งสวนโมกฃพลาราม อำ๓อไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และคำสอนของพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตุโต) แห่งวัดญาณเวศกวัน ตำบลบางกระทึกอำ๓อสามพราน จังหวัดนครปฐมก) พุทธทาสภิกขุกล่าวกันว่า การปฏิรูปคำสอนในพุทธศาสนาด้วยระบบเหตุผลนิยมซงริเริมขนเดยรัชกาลท 4 และเดรับการสานต่อ๒ยพระภิกษุทังฝ่ายธรรมยุติและมหานิกายนั้น มาเสร็จสินสมบูรณ์ในงานของพุทธทาสภิกขุ พุทธทาสภิกขุไม่เพียงแต่วิพากษ์วิจารณ์ไสยศาสตร์ของชนชั้นล่างเท่านั้น แต่ยังได้วิพากษ์วิจารณ์อภิปรัชญาของชนชั้นปกครองอีกด้วย ทำให้ระบบเหตุผลนิยมครบถ้วนสมบูรณ์ในงานของท่าน นอกจากนี้ท่านยังได้เติมเต็มการปฏิรูปคำสอนพุทธศาสนาในอีกด้านหนึ่ง ซึ่งเป็นพลังสร้างสรรค์ของท่านเองโดยแท้ด้วยการติความพุทธศาสนาตรงไปยังสภาวะทางจิตใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติความเรื่องปฏิจจสมุปบาทอันโดดเด่นของท่าน  อุปกรณ์นักสืบราคาถูก ซึ่งท่านเน้นวงจรทั้งฝ่ายเกิดทุกข์และฝ่ายดับทุกข์ว่าเป็นเรื่องสภาวะทางจิตใจ ปฏิจจสมุปบาทสายหนึ่งจึงกินเวลาเพียงชั่วขณะจิตเดียวเท่านั้น นอกจากนี้ท่านยังติความเรื่องนิพพานว่าเป็นสภาพความพ้นทุกข์ทางใจ ซึ่งสามารถถึงได้แม้แต่ที่นี่และเดี๋ยวนี้พุทธทาสภิกขุได้ริเริ่มการกลับไปใช้ชีวิตของหมู่สงฆ์ตามแบบครั้งพุทธกาลท่านได้จัดตั้ง “สวนโมกฃพลาราม” (สวนแห่งความหลุดพ้น) ขึ้น'ที่ตำบลพุมเรียงในปี พ.ศ. 2475 และต่อมาได้ย้ายมาที่อำ๓อไซยาอันเป็นสถานที่ตั้งในปัจจุบันท่ามกลางบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ ท่านกล่าวอยู่เสมอว่า “พระธรรมก็คือธรรมชาติ ธรรมชาติก็คือพระธรรม” ท่านจึงสอนให้เฝ็าสังเกตความเป็นไปในธรรมชาติ พร้อมกับการปฏิบัติ อานาปานสติ (สติเฝืาดูลมหายใจ) วิธีการปฏิบัติ อานาปานสติ มีปรากฎอยู่ในพระไตรปิฎก ชั้นแรกผู้ปฏิบัติจะเฝ็าดูลมหายใจด้วยวิธีการต่างๆ (สมถะ) ในขั้นต่อมาผู้ปฏิบัติจะใช้สมาธิที่เกิดจากการดูลมหายใจ มาพิจารณาถึงธรรมชาติของสิงทั้งหลายตามที่เป็นจริง(วิปัสสนา) นอกจากนี้ผู้ปฏิบัติพึงแสวงหา “ปัญญา” ด้วยการคืกษาหาความรู้จากพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และคัมภีร์ต่างๆ นอกเหนือจากการอ่านและพีงพระธรรมคำลังสอนจากท่านผู้รู้ และประพฤติตนอยู่ในคืลธรรมที่ดีพุทธทาสภิกขุได้ทำการเผยแผ่พุทธศาสนาและสร้างสรรค์ผลงานอันยิ่งใหญ่ ตลอดระยะเวลากว่า 60 ปี สวนโมกฃพลารามได้กลายเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในศตวรรษที่ 20 งานเผยแผ่พุทธ-ศาสนาในชุด “ธรรมโฆษณ์'’ ของท่านนั้น เป็นผลงานทางความคิดอันยิ่งใหญ่เป็นงานรีเริ่มสร้างสรรค์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดทางพุทธศาสนา และ  นเทรวิพัเเป็นงานซึ่งเมื่อรวบรวมสำเร็จสมบูรณ์แล้ว จะมีความยาวยิ่งกว่า “พระไตรปิฎก”ของพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทเสียอีก พุทธทาสภิกขุและสวนโมกฃพลารามเป็นสัญลักษณ์และตัวแทนทาง “ปัญญา” ของพุทธศาสนาฝ่ายปฏิรูปของชนชั้นกลาง กลุ่มที่เป็นนักวิชาการ นักภิกษา และปัญญาชนในสังคมไทยข) พระธรรมปิฎกเมื่อเปรียบเทียบกับสำนักพุทธศาสนาที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมดแล้วบทบาทและสถานะของพระธรรมปิฎกแตกต่างออกไปค่อนข้างจะเด่นชัด ในขณะที่สำนักดังกล่าวทั้งหมดมีการฝึกอบรมและการปฏิบัติตามแนวทางของแต่ละสำนักนั้น ดักฟังเสียงคุยโทรศัพท์ พระธรรมปิฎกกลับเป็นนักคิดอิสระที่สร้างสรรค์ผลงานด้วยการเขียนหนังสือ และการบรรยายธรรมตามสถานที่ต่างๆ เป็นส่วนใหญ่มีได้ตั้งสำนักเพื่อฝึกอบรมหรือแนะนำการปฏิบัติในแนวทางใดแนวทางหนึ่งแก่ผู้คนโดยเฉพาะ ในทรรศนะของท่าน การปฏิบัติธรรมคือการนำข้อธรรมะต่างๆ ที่ได้ภิกษามาประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ให้เกิดความถูกต้องเรียบร้อย ดีงามนั่นเองด้วยความแม่นยำในพระคัมภีร์ของท่าน พระธรรมปิฎกเป็นเสมือน“พระไตรปิฎกที่มีชีวิต” คอยทำหน้าที่ตรวจสอบสำนักพุทธศาสนาต่างๆ ในประเทศไทย ว่าคำสอนเหล่านั้นถูกต้องตรงกับที่กล่าวไวในพระไตรปิฎกหรือไม่ถ้าหากเห็นว่าคลาดเคลื่อนไม่ตรงกับที่บัญญัติไร้ในพระไตรปิฎก เครื่องดักฟังไร้สาย ท่านก็จะท้วงติงอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา ดังเช่นที่ท่านท้วงติงสำนักสันติอโศกและวัดพระธรรมกายมาแล้ว ในแง่นี้ท่านเปรียบเสมือนบรรทัดฐานของพุทธ-ศาสนาฝ่ายเถรวาทในยุคปัจจุบัน อาจมีผู้แย้งว่าพระไตรปิฎกอาจมีใช่คำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมด เพราะในประวัติศาสตร์อันยาวนานของพุทธศาสนานั้นคำสอนของพระพุทธเจ้าบางส่วนอาจสูญหายไป และบางส่วนอาจมีผู้เพิ่มเติมเข้ามาทีหลังก็เป็นได้ ข้อนี้ท่านให้ความเห็นว่า ธรรมเนียมการจดจำพระไตร-ปิฎกนับแต่ครั้งพุทธกาลเป็นต้นมามีความแม่นยำเป็นอย่างยิ่ง และการบันทึกพระไตรปิฎกก็กระท่าด้วยความระมัดระวัง หากมีข้อท้วงติงหรือการติความที่ผิดพลาดเกิดขึ้น พระเถระในแต่ละรุ่นก็จะช่วยกันออกมาชำระสะสางให้ถูกต้อง

เครื่องดักฟัง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น